บทความภาษาอังกฤษ
- Komkam, P. (2021). Sikh Music in Bangkok: The Sangeetacharya Band. Journal of Urban Culture Research, 23, 136-148. Link here
- Pornprasit, K. (2021). Hindu Music in Bangkok: The Om Uma Devi Shiva Band. Journal of Urban Culture Research, 22, 217-227. Link here
- Buathong, R. & Binson, B. (2020). Composition Inspired by ASEAN Drums: Sakodai. Journal of Urban Culture Research, 21, 112-124. Link here
- Kaewsuwan, N. & Pornprasit, K. (2019). The Singing Methods of Peng Korat, a Case Study of Khru Gamphan Khoinok (Gamphan Bantaen Band): Concepts for the Creation of the Wiwat Peng Korat. Mekong-Salween Civilization Studies Journal, 10(2), 126–168.
- Chotirat, S. & Komkam, P. (2019). Selected Essence of the Dvarvati Civilization in Nakhon Pathom: A Guide to the Creation of the Buddha Chedi Dvaravati Sri Nakhon Pathom Suite. Mekong-Salween Civilization Studies Journal, 10(2), 86–125. Link here
- Uasilpa, S. & Phoasavadi, P. (2019). Process of Composing Lyrics and Melodies for Thai Musical Theater: The Princess Palalerslaksanawalai. Music and Performing Arts Journal Burapa University, 5(2), 91–105.
- Tassanakulwong, T. & Komkam, P. (2019). The Song Composition of Peng Tub-Ruang, ‘Bua Sam Lao’ a case study to explore the background of Sutta Patika, in Majjhima Nikaya, and to crate Pleng Mahori. Music and Performing Arts Journal Burapa University, 5(2), 71–90.
- Cherdchoo, W. & Pornprasit, K. (2019). A Musical Suite: Pin-dukkhanirodhagaminipatipada. Mekong-Salwee Civilization Studies Journal, 9(2), 13–49.
- Binson, B. & Lev-Wiesel, R. (2018). Promoting Personal Growth through Experiential Learning: The Case of Expressive Arts Therapy for Lecturers in Thailand, Frontiers in psychology, 1–16
- Garzoli, J. & Binson, B. (2018). Improvisation, Thang, and Thai Music Structure. Musicology, 1–19, DOI: 10.1080/08145857.2018.1480867
- Krangsaard, B. & Komkam, P. (2018). The Relationship Between Chaiya Mangala Gatha Chant and Pleng Ching type of Pleng Ruang. Music & Performing Arts Journal Burapa University, 5(1), 7–22. Link here.
- Wong, H.T. & Phoasavadi, P. (2018). Interpersonal Relationships of Thai Classical Music Teaching and Learning in University Settings. Rianthai Journal, 11, 1–28.
- Kawphachone, C., & Pornprasit, K. (2018). The Creation of That Will Roengsamran (The Feline Suite). Journal of Fine and Applied Arts Khon Kaen University, 10(1), 110–132.
- Thasanaboanjong, K., & Phoasavadi, P. (2017). The Music of Rice in Amphawa. Veridian E-Journal Silapakorn University, 10(5), 492–520.
- Wattanasoei, S., Binson, B., Kumar, R., Somrongthong, R. & Kanchanakhan, N. (2017). Quality of Life Through Listening Music Among Elderly People in Semi-Urban Area, Thailand. Journal of Ayub Medical College, 29, 21–25.
- Warawut, R. & Binson, B. (2017). Mamuat Music Healing Ritual. Journal of Urban Culture Research, 15, 86–97. Link here
บทความภาษาไทย
- วงศ์วสันต์ วสันตสุรีย์และพระประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์. “การศึกษาการเดินทางเชิงประวัติศาสตร์เพื่อกระบวนการประพันธ์เพลงไทย: การเดินทางของเฉกอะหมัดจากเปอร์เซียสู่อยุธยา.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565): อยู่ระหว่างการตีพิมพ์.
- สันติ อุดมศรีและภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์. “การสร้างสรรค์ผลงานทางดุริยางคศิลป์: ตับเรื่องเกาะสีชัง.” วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565): อยู่ระหว่างการตีพิมพ์.
- ปรเมษฐ์ เอียดนิมิตรและขำคม พรประสิทธิ์. “กรรมวิธีการสร้างกลองทัดของช่างสนั่น บัวคลี่.” วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565): อยู่ระหว่างการตีพิมพ์.
- พรรษพงศ์ สิขัณฑกนาคและพรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์. “กรรมวิธีการสร้างบัณเฑาะว์ของครูบุญรัตน์ ทิพย์รัตน์.” วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565): อยู่ระหว่างการตีพิมพ์.
- ศิริชัยวัตร ซ้ายสุขและขำคม พรประสิทธิ์. “กลวิธีการขับร้องเพลงไทยสำหรับวงโยธวาทิตของเรือโทหญิง เลี่ยมลักษณ์ สังจุ้ย ร.น.” วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565): อยู่ระหว่างการตีพิมพ์.
- พีระพล ปลิวมาและภัทระ คมขำ. “ระเบียบวิธีการบรรเลงวงปี่พาทย์มอญ คณะพาทยโกศล ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร.” วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565): อยู่ระหว่างการตีพิมพ์.
- ณัฏฐ์ฏาพร เขียวมณีและภัทระ คมขำ. “การเรียบเรียงบทเพลงประเภทเพลงนางหงส์ของครูภัทระ คมขำ.” วารสารศรีวนาลัยวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565): อยู่ระหว่างการตีพิมพ์.
- สุวิชา พระยาชัยและบุษกร บิณฑสันต์. “พิธีกรรมและความเชื่อในการสร้างกลองยืนและกลองหลอนของวงมังคละ คณะ ศ.ราชพฤกษ์ศิลป์.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564): 145-161. Link here
- สถิตย์สถาพร สังกรณีย์และขำคม พรประสิทธิ์. “ทางเดี่ยวซอสามสายเพลงทยอยเดี่ยวของพระยาภูมีเสวิน (จิตร จิตตเสวี).” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564): อยู่ระหว่างการตีพิมพ์.
- ปริทัศน์ เรืองยิ้มและภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์. “กรรมวิธีการสร้างผืนระนาดทุ้มของช่างฉะโอด บุญขันธ์.” วารสารรัตนปัญญา, ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 155-169. Link here
- พีรพันธุ์ กาญจนโหติทัศและขำคม พรประสิทธิ์. “การสืบทอดดนตรีไทยของศาสตราจารย์ ดร. อุทิศ นาคสวัสดิ์.” วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 155-179. Link here
- วีรศิลป์ ห่วงประเสริฐและภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์. “การสืบทอดความรู้ด้านชอสามสายของครูเจริญใจ สุนทรวาทิน.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 226-248. Link here
- บุษกร บิณฑสันต์ ขำคม พรประสิทธิ์ และภัทระ คมขำ. “การศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมดนตรีไทใหญ่ในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563).
- ขำคม พรประสิทธิ์. “วัฒนธรรมการบรรเลง ดนตรีไทใหญ่ประเภทกลองก้นยาว กลองมองเซิงและเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (เมืองเชียงตุง).” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2563): 19–34.
- ขำคม พรประสิทธิ์. “วัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีไทใหญ่ ประเภทเครื่องตี (กลอง) และเครื่องสายในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (เมืองตองยี).” วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2563): 132–158.
- ภัทระ คมขำ. “วัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีไทใหญ่ประเภทเครื่องตีและเครื่องเป่าในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (เมืองเชียงตุง).” วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, (ฉบับมิถุนายน – ธันวาคม 2562): 93–116.
- ปริญญา ทัศนมาศและขำคม พรประสิทธิ์. “วิเคราะห์การขับร้องเพลงหน้าพาทย์บทคอนเสิร์ต ตับนางลอย บ้านพาทยโกศล โดยครูอุษา แสงไพโรจน์.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม -มิถุนายน 2562): 19–31.
- รณฤทธิ์ ไหมทองและภัทระ คมขำ. “การถ่ายทอดการบรรเลงระนาดเอกของครูบุญธรรม คงทรัพย์.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2562): 91–98.
- วีรวรรณ คชรัตน์และบุษกร บิณฑสันต์. “ดนตรีกันตรึมในพิธีบวงสรวงงานประเพณี ขึ้นเขาพนมรุ้ง.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2562): 61–73.
- อนันท์สิทธิ์ การหนองใหญ่และบุษกร บิณฑสันต์. “การสร้างซอสามสายของครูศักดิ์ชัย กาย.” วารสารศิลปกรรมศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2562): 82–92.
- ขำคม พรประสิทธิ์. “วัฒนธรรมการบรรเลง ดนตรีไทใหญ่ประเภทกลองก้นยาว กลองมองเซิงและเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (เมืองสีป่อ).” วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2561): 50–71.
- ภัทระ คมขำ. “วัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีไทใหญ่ ประเภทเครื่องตีและเครื่องเป่าในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (เมืองตองยี).” วารสารศิลป์ปริทัศน์, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2561): 26–41.
- ขำคม พรประสิทธิ์. “วัฒนธรรมการบรรเลงดนตรีไทใหญ่ประเภทกลองก้นยาวกลองมองเซิงและเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (เมืองจ๊อกแม).” วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคม ม.บรูพา, ปีที่ 25 ฉบับที่ 48 (พ.ศ.2560): 153–175.